ไม่มีบทความ
ไม่มีบทความ

แผนการจัดการเรียนรู้ ป5

แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
(คอมพิวเตอร์)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5






จัดทำโดย

นายภูมิวัฒน์ ป้อมสุวรรณ์


สารบัญ
หน้า
กำหนดการสอน
หน่วยที่ 1 เรื่อง มารู้จักกับโปรแกรมตารางงานกันเถอะ จำนวน 7 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง งานที่จำเป็นต้องใช้โปรแกรมคำนวณ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเรียกใช้โปรแกรม Excel
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม Excel
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เมนูและแถบเครื่องมือ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การปิดแฟ้มและออกจากโปรแกรม
หน่วยที่ 2 เรื่อง การทำงานกับเวิร์กชีต จำนวน 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Excel
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การป้อน การลบ และการแก้ไข
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คำสั่งยกเลิกและทำซ้ำ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การเลื่อนเวิร์กชีต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การย้ายและคัดลอก
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การจัดการแถว คอลัมน์ และเซลล์
หน่วยที่ 3 เรื่อง การจัดรูปแบบข้อมูล จำนวน 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การวางตำแหน่งข้อมูล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การจัดรูปแบบโดยใช้ AutoFormat
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การตกแต่งเวิร์กชีต




หน่วยที่ 4 เรื่อง สูตรและฟังก์ชั่น จำนวน 7 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สูตร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การใช้ฟังก์ชั่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้งาน AutoSum
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์
หน่วยที่ 5 เรื่อง การประยุกต์เพื่อใช้ในงานอาชีพ จำนวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การประยุกต์เพื่อใช้งาน




















กำหนดการสอน

กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ เวลา(ชั่วโมง)
หน่วยที่ 1 เรื่อง
มารู้จักกับโปรแกรม
ตารางงานกันเถอะ งานที่จำเป็นต้องใช้โปรแกรมคำนวณ
1
การเรียนใช้โปรแกรม Excel 1
ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม Excel 1
การใช้เมนูและแถบเครื่องมือ 2
เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต 1
การปิดแฟ้มและออกจากโปรแกรม 1
หน่วยที่ 2 เรื่อง
การทำงานกับเวิร์กชีต ประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Excel 2
การป้อน การลบ และการแก้ไข 2
คำสั่งยกเลิกและทำซ้ำ 2
การเลื่อนเวิร์กชีต 2
การย้ายและคัดลอก 2
การจัดการแถว คอลัมน์ และเซลล์ 2
หน่วยที่ 3 เรื่อง
การจัดรูปแบบข้อมูล การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต 2
การกำหนดรูปแบบตัวอักษร 2
การวางตำแหน่งข้อมูล 2
การจัดการแบบโดยใช้ AutoFormat 2
การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์ 2
การตกแต่งเวิร์กชีต 2

กำหนดการสอน

กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ เวลา(ชั่วโมง)
หน่วยที่ 4 เรื่อง
สูตรและฟังก์ชั่น สูตร 1
การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น 2
การใช้ฟังก์ชั่น 2
การใช้งาน AutoSum 1
การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ 1
หน่วยที่ 5 เรื่อง
การประยุกต์เพื่อใช้ในงานอาชีพ การประยุกต์เพื่อใช้งาน 2
รวม 40














แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 1 เรื่อง มารู้จักกับโปรแกรมตารางงานกันเถอะ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง งานที่จำเป็นต้องใช้โปรแกรมคำนวณ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
ลักษณะของงานที่จำเป็นต้องใช้โปรแกรมเพื่อคำนวณ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถเลือกใช้โปรแกรมให้เหมาะสมกับงานได้

สาระการเรียนรู้
ลักษณะงานสำหรับโปรแกรมคำนวณประเภทโปรแกรมตารางงาน เช่น การเก็บ
ข้อมูลและต้องการประมวลผลข้อมูลเชิงสถิติ หรือข้อมูลอื่น ๆ ที่จำเป็นต้องคำนวณเช่น
การบวก ลบ คูณ หาร หรือการหาค่าเฉลี่ยต่าง ๆ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูแจกใบงานให้นักเรียนคนละ 1 แผ่น
2. ให้นักเรียนคำนวณหาค่าต่าง ๆ ตามที่ได้กำหนดให้ในใบงานโดยกำหนดเวลา
เพื่อให้นักเรียนทำตามเวลาที่กำหนด (การกำหนดเวลาขึ้นอยู่กับความสามารถของ
แต่ละสถานการณ์)
3. ครูสังเกตการคำนวณของนักเรียนเพื่อถามเน้นเวลาว่าเสร็จหรือยัง เวลาจะหมดแล้ว

4. เมื่อหมดเวลา ครูถามนักเรียนต่อว่าเหนื่อยหรือไม่ เสร็จหรือเปล่า และบอกนักเรียน
คอมพิวเตอร์มีโปรแกรมประเภทหนึ่งที่สามารถคำนวณให้เราได้โดยที่เราไม่ต้อง
มาคำนวณเอง เพียงแค่ใส่ตัวเลขและสิ่งที่เราต้องการคำนวณโปรแกรมจะคำนวณ
ให้เราทั้งหมด โปรแกรมนี้เรียกกว่าโปรแกรมตารางงาน หรือ โปรแกรมตาราง
คำนวณ ซึ่งโปรแกรมที่เราจะได้เรียนต่อไปนี้คือ โปรแกรม Microsoft Excel เป็น
โปรแกรมที่ทำงานเกี่ยวกับตารางคำนวณ

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน เรื่อง การคำนวณเบื้องต้น
2. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง การคำนวณเบื้องต้น
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป








กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบงาน
เรื่อง การคำนวณเบื้องต้น
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนคำนวณยอดการขายสินค้าจากข้อมูลต่อไปนี้

ลำดับที่ รายการ ยอดขาย1 ยอดขาย2 ยอดขาย3 รวมยอดขาย
1 ยาสีฟันคอลเกต 345 342 452
2 ยาสีฟันใกล้ชิด 234 345 670
3 ยาสีฟันดอกบัวคู่ 568 678 980
4 สบู่แคร์ 909 908 648
5 สบู่จอห์นสัน 234 765 653
6 สบู่นกแก้ว 345 654 123
7 สบู่ปาล์มโอลีฟ 543 356 458
8 สบู่เดทตอล 123 780 789
9 แชมพูแฟช่า 678 843 980
10 แชมพูซันซิล 900 126 752
11 แชมพูคาโอ 987 589 342
12 บรีส 789 678 456
13 เปา 657 345 675
14 โอโม 345 234 427
15 แฟ้บ 234 678 890
รวมยอดทั้งสิ้น

1. หาผลรวมยอดขาย คือ ยอดขาย 1 + ยอดขาย 2 + ยอดขาย 3
2. หารวมยอดทั้งสิ้น คือ ผลรวมยอดขายแต่ละยอดขายและรวมยอดขาย


แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
2 2 2 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ การสนใจในการตอบคำถาม
ความกระตือรือร้น
การแสดงความคิดเห็น
คะแนนรวมพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 1 เรื่อง มารู้จักกับโปรแกรมตารางงานกันเถอะ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเรียกใช้โปรแกรม Excel เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การเรียกใช้งานโปรแกรม Excel

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถเข้าสู่โปรแกรม Excel ได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้
วิธีการเรียกใช้งานโปรแกรม Excel

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
2. แจกใบความรู้ เรื่อง การเข้าสู่โปรแกรม Excel เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติตาม
3. เมื่อเครื่องพร้อม ครูให้นักเรียนปฏิบัติตามใบความรู้
4. ครูสังเกตพฤติกรรมการฝึกปฏิบัตินักเรียน
5. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง วิธีการเข้าสู่โปรแกรม Excel



สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้เรื่อง การเข้าสู่โปรแกรม Excel
2. แบบฝึกหัด เรื่อง วิธีการเข้าสู่โปรแกรม Excel
3. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง วิธีการเข้าสู่โปรแกรม Excel
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้ เรื่อง การเรียกใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel

ก่อนเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel เพื่อสร้างการนำเสนองานต่าง ๆ เราจำเป็นต้องรู้วิธีการเรียกใช้งาน ที่ถูกต้อง เพื่อให้ใช้โปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นตอนการเรียกใช้โปรแกรม
หลักจากที่เราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมาแล้ว การเรียกใช้งานโปรแกรม
มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. คลิกที่ปุ่ม ที่อยู่บนทาสก์บาร์ (Taskbar)
2. เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปที่คำว่า Programs
3. คลิกเลือกคำสั่ง Microsoft Excel
ดังรูปต่อไปนี้
















แบบฝึกหัด
เรื่อง วิธีการเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง .ให้นักเรียนเขียนขั้นตอนการเข้าสู่โปรแกรมตั้งแต่เริ่มต้นเป็นลำดับขั้นตอน

1. จงเขียนวิธีการเข้าสู่โปรแกรม Excel แบบเป็นขั้นตอน
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
2. จงบอกประโยชน์ของโปรแกรม Excel
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
2 2 2 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ การสนใจในการตอบคำถาม
ความกระตือรือร้น
การแสดงความคิดเห็น
คะแนนรวมพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 1 เรื่อง มารู้จักกับโปรแกรมตารางงานกันเถอะ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ส่วนประกอบหน้าต่างโปรแกรม Excel เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม Excel

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนบอกส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม Excel ได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้
ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม Excel แบบแสดงชื่อเรื่อง แถบเมนู เครื่องมือ
ไม้บรรทัด เมนูควบคุม ปุ่มมุมมอง แถบแสดงสถานะ แถบเลื่อน พื้นที่สำหรับพิมพ์เอกสาร
พื้นที่สำหรับการเลือก ตำแหน่งการพิมพ์ ตัวชี้เมาส์

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้พร้อม
2. ให้นักเรียนเข้าสู่โปรแกรม Excel
3. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel ให้กับ
นักเรียนเพื่อให้ดูประกอบกับหน้าจอของเครื่องคอมพิวเตอร์

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel
2. แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel
3. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
1.1 สังเกตการ
1.1.1 การฟัง
1.1.2 การตอบคำถาม
1.2 ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป












กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบหน้าจอของโปรแกรม Microsoft Excel
















1. แถบแสดงชื่อเรื่อง (Title Bar) แสดงชื่อของโปรแกรมและชื่อแฟ้มที่กำลังใช้งานอยู่
2. เมนูควบคุม (Control Menu) ใช้สำหรับควบคุมขนาดของหน้าต่างโปรแกรม
3. แถบเมนู (Menu Bar) แสดงรายการคำสั่งหลักที่อยู่ในรูปแบบของเมนู คลิกเมื่อต้องการใช้
4. แถบเครื่องมือ (Toolbars) เก็บคำสั่งที่ใช้บ่อย ๆ ในรูปของปุ่มเพื่อให้ใช้งานได้ง่าย
5. Formula Bar ใช้สำหรับป้อนและแสดงชื่อเซลล์ ข้อมูล สูตร และฟังก์ชั่น ในส่วนที่เลือก
6. Column Name ใช้แสดงชื่อของคอลัมน์ในเวิร์กชีต ใน 1 เวิร์กชีต มีทั้งหมด 256 คอลัมน์
7. Row Number ใช้แสดงหมายเลขของแถวในเวิร์กชีต 1 เวิร์กชีต มี 65,536 แถว
8. แถบเลื่อน (Scroll Bar) ใช้สำหรับเลื่อนดูหน้าเอกสารที่ไม่สามารถแสดงได้ในหน้าเดียว
ซึ่งสามารถเลื่อนได้ทั้งบน ล่าง ซ้าย ขวา
9. Status Bar แสดงสถานะการทำงานของโปรแกรม Excel
10. Sheet Tab หรือป้ายชื่อ เป็นส่วนที่ใช้บอกชื่อของเวิร์กชีตต่าง ๆ ที่อยู่ในเวิร์กบุ๊ก

แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Excel
ชื่อ-สกุล………………………………………………..เลขที่…...ชั้นประถมศึกษาปีที่.........
คำชี้แจง จงบอกส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม Excel ตามตำแหน่งของหมายเลข
ให้ถูกต้องที่สุด














หมายเลข 1 ................................................................................................................................
หมายเลข 2 ................................................................................................................................
หมายเลข 3 ................................................................................................................................
หมายเลข 4 ................................................................................................................................
หมายเลข 5 ................................................................................................................................
หมายเลข 6 ................................................................................................................................
หมายเลข 7 ................................................................................................................................
หมายเลข 8 ................................................................................................................................
หมายเลข 9 ................................................................................................................................
หมายเลข 10...............................................................................................................................
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
2 2 2 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ การสนใจในการตอบคำถาม
ความกระตือรือร้น
การแสดงความคิดเห็น
คะแนนรวมพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 1 เรื่อง มารู้จักกับโปรแกรมตารางงานกันเถอะ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เมนูและแถบเครื่องมือ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
เมนูและแถบเครื่องมือมาตรฐาน

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถเลือกใช้คำสั่งจากเมนูและแถบเครื่องมือได้

สาระการเรียนรู้
การเรียกคำสั่งจากเมนูและแถบเครื่องมือมาตรฐาน และแถบเครื่องมือจัดรูปแบบ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้พร้อม
2. ให้นักเรียนเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel
3. ครูบอกปัญหาให้นักเรียนฟังว่า บางครั้งการใช้โปรแกรม มีปัญหาเรื่อง
การเรียกใช้งานคำสั่งจากเมนูและแถบเครื่องมือ เนื่องจากคำสั่งในแถบเครื่องมือ
มีหลายคำสั่ง แต่ละคำสั่งทำหน้าที่แตกต่างกันออกไป
4. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับการใช้เมนูและแถบเครื่องมือ
5. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง คำสั่งในแถบเครื่องมือ

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง การใช้เมนูและแถบเครื่องมือ
2. แบบฝึกหัด เรื่อง คำสั่งในแถบเครื่องมือ
3. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
1.1 สังเกตการ
1.1.1 การฟัง
1.1.2 การตอบคำถาม
1.2 ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง คำสั่งในแถบเครื่องมือ
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป












กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้ เรื่อง การใช้เมนูและแถบเครื่องมือ

แถบเมนู (Menu Bar)
แถบเมนูเป็นที่เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม การเรียกใช้งานแถบเมนูทำได้โดยการเลื่อนเมาส์มาว่างที่ชื่อเมนูที่ต้องการเปิด แล้วเลื่อนเมาส์ไปตามรายการคำสั่ง เมื่อต้องการใช้ คำสั่งใด ๆ ก็ให้คลิกเมาส์ที่คำสั่งนั้น โปรแกรมก็จะทำการเรียกใช้งานคำสั่งนั้น ๆ ถ้าคำสั่งนั้นมีเมนูย่อย ๆ โปรแกรมก็จะแสดงรายการคำสั่งย่อย ๆ ออกมาให้เลือกต่อไป
โปรแกรมเวิร์ดทุกรุ่น จะมีแถบเมนูคล้าย ๆ กันคือ แฟ้ม, แก้ไข, มุมมอง, แทรก, รูปแบบ, เครื่องมือ, ข้อมูล, หน้าตาง, วิธีใช้ แต่ละเมนูมีคำสั่งการใช้งานแตกต่างกันออกไป

แถบเครื่องมือ (Toolbars)
แถบเครื่องมือ เป็นสัญลักษณ์ (Icon) ที่ใช้แทนคำสั่งต่าง ๆ แถบเครื่องมือที่โปรแกรมได้จัดเตรียมไว้ให้นั้นมีอยู่มากมายหลายชุดด้วยกัน แต่แถบเครื่องมือเหล่านี้จะไม่ได้ถูกแสดงให้เห็นทั้งหมดในโปรแกรมเวิร์ด จะแสดงเพียง 2 ชุด ที่ใช้งานประจำ คือ มาตรฐาน และ จัดรูปแบบ ซึ่งมีรายการคำสั่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้


แถบเครื่องมือ มาตรฐาน



1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

ลำดับที่ ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย หน้าที่
1 New สร้าง การเปิดเวิร์กบุ๊กใหม่ หรือแฟ้มใหม่
2 Open เปิด เปิดเวิร์กบุ๊กเดิมที่เคยมีการบันทึกไว้
3 Save บันทึก บันทึกเวิร์กบุ๊กลงดิสก์
4 Print พิมพ์ พิมพ์เอกสารออกทางเครื่องพิมพ์แบบด่วน
5 Printer Preview ภาพก่อนพิมพ์ แสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์
ลำดับที่ ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย หน้าที่
6 Spelling&Gamma สะกดและไวยากรณ์ ตรวจสอบการสะกดคำและไวยากรณ์
7 Toggle E/T สลับตัวอักษร สลับตัวอักษรระหว่างภาษาอังกฤษ/ไทย
8 Thai Dictionary พจนานุกรม เปิดพจนานุกรมในเครื่อง
9 Cut ตัด ลบข้อความที่เลือก
10 Copy คัดลอก คัดลอกข้อความที่เลือกเก็บในคลิปบอร์ด
11 Paste วาง วางข้อความที่เก็บในคลิปบอร์ด
12 Format Paste วางรูปแบบ นำรูปแบบมาวาง
13 Undo เลิกทำ ยกเลิกคำสั่งรายการที่ผ่านมา
14 Redo ทำซ้ำ ทำคำสั่งที่ถูกยกเลิกอีกครั้ง
15 Hyperlink แทรกการเชื่อมโยง สร้างตำแหน่งที่ต้องการเชื่อมโยงไปยังเอกสารอื่น
16 Web Toolbar แถบเครื่องมือ Web แสดง/ซ่อน แถบเครื่องมือ Web
17 Auto SUM ผลรวมอัตโนมัติ คำนวณผลรวมอัตโนมัติ
18 Function วางฟังก์ชั่น สร้างฟังก์ชั่นด้วยผู้วิเศษ
19 Sort Ascending เรียงลำดับมากไปน้อย การเรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย
20 Sort Descending เรียงลำดับน้อยไปมาก การเรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก
21 Chart Wizard ตัวช่วยสร้างแผนภูมิ สร้างแผนภูมิด้วยผู้วิเศษ
22 Map แผนที่ ใช้สำหรับแทรกแผนที่
23 Drawing รูปวาด แสดง/ซ่อนแถบเครื่องมือวาดรูป
24 Zoom ย่อ/ขยาย การย่อและการขยายขนาดเอกสารในการมอง



1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
ลำดับที่ ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย หน้าที่
1 Font แบบอักษร เปลี่ยนแบบของตัวอักษร
2 Font Size ขนาดอักษร เปลี่ยนขนาดของตัวอักษร
3 Bold ตัวหนา กำหนดให้ตัวอักษรเป็นตัวหนา
4 Italic ตัวเอียง กำหนดให้ตัวอักษรเป็นตัวเอียง
5 Underline ขีดเส้นใต้ กำหนดให้ตัวอักษรมีขีดเส้นใต้
6 Align Left จัดชิดซ้าย จัดข้อความชิดซ้าย

ลำดับที่ ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย หน้าที่
7 Center กึ่งกลาง จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง
8 Align Right จัดชิดขวา จัดข้อความชิดขวา
9 Justify จัดชิดขอบ จัดข้อความชิดขอบซ้ายและขอบขวา
10 Thai Justify จัดคำแบบไทย จัดข้อความให้ชิดขอบซ้ายและขวาโดยมีการเพิ่ม
ระยะห่างของตัวอักษร
11 Merge &Center ผสานและจัดกลาง ผสานเซลล์และจัดข้อความกึ่งกลาง
12 Currency สกุลเงินต่างประเทศ ใช้ลักษณะสกุลเงินต่างประเทศ
13 Percent Style ลักษณะเปอร์เซ็นต์ ใช้ลักษณะเปอร์เซ็นต์ในเซลล์
14 Comma Style เครื่องหมายจุลภาค กำหนดให้ปรากฏเครื่องหมายจุลภาคในเซลล์
15 Increase Decimal เพิ่มทศนิยม เพิ่มจำนวนทศนิยม
16 Decrease Decimal ลดทศนิยม ลดจำนวนทศนิยม
17 Decrease Indent ลดการเยื้อง เลื่อนย่อหน้าไปทางซ้าย 1 ชั้น
18 Increase Indent เพิ่มการเยื้อง เลื่อนย่อหน้าไปทางขวา 1 ชั้น
19 Border เส้นขอบ กำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์
20 Fill Color เติมสี กำหนดสีให้กับเซลล์ที่เลือก
21 Font Color สีตัวอักษร กำหนดสีให้กับตัวอักษรภายในเซลล์














แบบฝึกหัด เรื่อง คำสั่งในแถบเครื่องมือ
ชื่อ-สกุล………………………………………………..เลขที่…...ชั้นประถมศึกษาปีที่.........
คำชี้แจง ให้นักเรียนบอกชื่อของแถบเครื่องมือและหน้าที่การใช้งานให้ถูกต้อง
ชื่อเครื่องมือ หน้าที่การใช้งาน

























แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
2 2 2 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ การสนใจในการตอบคำถาม
ความกระตือรือร้น
การแสดงความคิดเห็น
คะแนนรวมพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 1 เรื่อง มารู้จักกับโปรแกรมตารางงานกันเถอะ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนบอกส่วนของเวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีตได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้
ส่วนที่เรียกว่าเวิร์กบุ๊กและส่วนที่เรียกกว่าเวิร์กชีต

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้พร้อม
2. ให้นักเรียนเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel
3. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต
5. ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต



สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต
2. แบบฝึกหัด เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต
3. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
1.1 สังเกตการ
1.1.1 การฟัง
1.1.2 การตอบคำถาม
1.2 ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป












กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้ เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีต

เวิร์กบุ๊ก
เมื่อเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Excel โปรแกรมจะทำการเปิดเวิร์กบุ๊กใหม่เสมอ มีชื่อว่า
Book1 ซึ่งเราสามารถจะทำการป้อนข้อมูลต่าง ๆ ได้ทันที ซึ่งชื่อของเวิร์กบุ๊กจะเปลี่ยนได้ก็ต่อ
เมื่อมีการบันทึกข้อมูล เฉพาะฉะนั้นถ้าจะเปรียบเทียบ เวิร์กบุ๊กก็เสมือนกับแฟ้มข้อมูลนั้นเอง
ส่วนของเวิร์กบุ๊กคือส่วนที่อยู่ในกรอบดังภาพต่อไปนี้









เวิร์กชีต
ส่วนเวิร์กชีต หมายถึงพื้นที่ในการทำงานซึ่งประกอบด้วยแถวในแนวตั้งและแนวนอน ซึ่งในแต่ละเวิร์กบุ๊กจะประกอบด้วยชีตดังภาพ









แบบฝึกหัด เรื่อง เวิร์กบุ๊กและเวิร์กชีติ
ชื่อ-สกุล………………………………………………..เลขที่…...ชั้นประถมศึกษาปีที่.........
คำชี้แจง จงบอกข้อแตกต่างระหว่างเวิร์กบุ๊กกับเวิร์กชีต

เวิร์กบุ๊ก
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

เวิร์กชีต
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................



แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
2 2 2 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ การสนใจในการตอบคำถาม
ความกระตือรือร้น
การแสดงความคิดเห็น
คะแนนรวมพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………../…………./………….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 1 เรื่อง มารู้จักกับโปรแกรมตารางงานกันเถอะ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การปิดแฟ้มและออกจากโปรแกรม เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การปิดแฟ้มข้อมูลและออกจากโปรแกรม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถออกจากโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง

สาระการเรียนรู้
การปิดแฟ้มข้อมูลและออกจากโปรแกรม

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนเข้าสู่โปรแกรม Excel
2. ให้นักเรียนพิมพ์ชื่อตัวเองพร้อมนามสกุล
3. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องการปิดแฟ้มและออกจากโปรแกรม
4. ครูให้นักเรียนฝึกปฏิบัติตามใบความรู้
5. ครูตรวจสอบและประเมินการใช้งานคำสั่ง



สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง การปิดแฟ้มและออกจากโปรแกรม
2. ใบงาน เรื่อง การปิดแฟ้มและออกจากโปรแกรม
2. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการปฏิบัติตามคำสั่งจากใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกประเมินผลกาเรียนรู้ที่คาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป
















กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้
เรื่อง การปิดแฟ้มและออกจากโปรแกรม

การปิดแฟ้ม
การปิดแฟ้มเป็นเพียงการปิดงานที่เรากำลังทำงานอยู่เท่านั้น ยังไม่ได้ปิดโปรแกรม Excel ถ้ายังไม่มีการบันทึกข้อมูลไว้ก่อนโปรแกรมจะถามเพื่อให้บันทึกแฟ้มหรือไม่บันทึกหรือยังไม่ปิดแฟ้มนั้น การสั่งปิดแฟ้มทำตามขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่เมนู แฟ้ม








2. เลือกคำสั่งปิด หรือ คลิกที่ปุ่มปิด จะปรากฎหน้าจอดังนี้










การตอบคำถาม
ถ้าตอบใช่ โปรแกรมจะให้เราตั้งชื่อแฟ้มเพื่อบันทึกข้อมูล
ถ้าตอบไม่ แฟ้มนี้จะถูกปิดและข้อมูลจะหายไป
ถ้าตอบยกเลิก โปรแกรมจะกลับไปยังหน้าต่างเดิมเหมือนกับไม่ได้คำสั่งใด ๆ


การออกจากโปรแกรม
มีขั้นตอนการออกจากโปรแกรมดังนี้
1. คลิกที่เมนู แฟ้ม
2. เลือกคำสั่ง จบการทำงาน หรือปุ่ม ดังรูปนี้

















ใบงาน เรื่อง การปิดแฟ้มและออกจากโปรแกรม

คำชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติตามคำสั่งต่อไปนี้

1. ปิดแฟ้มข้อมูล
2. ออกจากโปรแกรม










แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติการคำสั่งได้ถูกต้องในครั้งแรก 5 คะแนน ครั้งที่ 2 ได้ 3 คะแนน
เลขที่ ชื่อ – สกุล คำสั่ง สรุป
1 2 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน














ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….

แบบทดสอบ
ชื่อ-สกุล………………………………………………..เลขที่…..ชั้นประถมศึกษาปีที่……….
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกที่สุด
1. โปรแกรม Excel เป็นโปรแกรมประเภทใด
ก. นำเสนองาน
ข. พิมพ์เอกสาร
ค. ตารางงาน
ง. ฐานข้อมูล
2. คำสั่งใดคือคำสั่งในการสร้างเวิร์กบุ๊กใหม่
ก.
ข.
ค.
ง.
3. คำสั่งใดคือคำสั่งบันทึกข้อมูลลงดิสก์
ก.
ข.
ค.
ง.
4. คำสั่งใดคือคำสั่งในการคัดลอกที่เลือก
ก.
ข.
ค.
ง.
5. การปิดแฟ้มแตกต่างจากการปิดโปรแกรมอย่างไร
ก. ไม่มีข้อแตกต่างกัน
ข. เมื่อปิดแฟ้มแล้วโปรแกรมจะปิดด้วย
ค. ออกจากโปรแกรมแล้วข้อมูลแฟ้มยังอยู่
ง. เมื่อปิดแฟ้มแล้วโปรแกรมยังไม่ปิด
เฉลย 1.ก 2.ก 3.ค 4.ข 5.ง



























แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 เรื่อง การทำงานกับเวิร์กชีต เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Excel เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
ประเภทของข้อมูลต่าง ๆ ในโปรแกรม Excel

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถบอกประเภทข้อมูลในโปรแกรม Excelได้

สาระการเรียนรู้
ประเภทข้อมูลแบบข้อความ ประเภทข้อมูลแบบตัวเลข ประเภทข้อมูลแบบวันที่และเวลา ประเภทข้อมูลแบบสูตร

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูถามนักเรียนว่านักเรียนชื่ออะไร โดยสุ่มตัวอย่างประมาณ 5 คน แล้วครู
จดชื่อไว้บนกระดานโดยเรียงลำดับจากคนที่ 1 ถึง คนที่ 5 แบบเป็นลำดับ
2. ครูถามนักเรียนต่อว่า วันนี้วันอะไร และนักเรียนแต่ละคนได้เงินมาโรงเรียนกัน
คนละกี่บาทแล้วจดบันทึก นักเรียนคนที่ 1 ถึงคนที่ 5
3. ครูถามนักเรียนว่าแล้วจำนวนเงินทั้งหมดที่นักเรียนรวมกันได้เท่ากับเท่าไร
โดยเรียนในรูปของการบวกให้นักเรียนหาคำตอบ
4. ครูแจกใบความรู้เรื่อง ประเภทข้อมูลในโปรแกรม Excel
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง ประเภทข้อมูลในโปรแกรม Excel
2. ใบงาน เรื่อง ประเภทข้อมูล
3. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง ประเภทข้อมูล
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้
เรื่อง ประเภทข้อมูลในโปรแกรม Excel

การป้อนข้อมูลลงในเซลล์ของเวิร์กชีต สามารถทำได้โดยการเลื่อนเซลล์พอยเตอร์ไปยังตำแหน่งของเซลล์ที่ต้องการ แล้วทำการป้อนข้อมูลลงไป ซึ่งข้อมูลที่เราได้ทำการป้อนลงไปนั้นจะสังเกตเห็นว่าจะมีข้อมูลอยู่ 2 ประเภท คือ ข้อความหรือคำอธิบาย และตัวเลขที่เป็น
ค่าของสิ่งต่าง ๆ เช่น จำนวนเงิน จำนวนสินค้าในคลังสินค้า เป็นต้น เราสามารถป้อนข้อมูลต่าง ๆ ลงในเซลล์สูงสุด 255 ตัวอักษร ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งเราสามารถแบ่งประเภทของข้อมูลได้ดังต่อไปนี้

1. ข้อมูลประเภทข้อความ (Label) ข้อมูลประเภทนี้จะเป็นตัวอักษร ข้อความ หรือตัวเลข ที่ไม่ได้ใช้ในการคำนวณ ซึ่งในโปรแกรม Excel จะเรียกว่า Label ตัวอย่างเช่น สมุดโทรศัพท์ จะมีชื่อและหมายเลข หมายเลขโทรศัพท์เป็นตัวเลขแต่ตัวเลขนั้นไม่ได้ใช้ในการในการคำนวณ เราจึงเรียกกว่าข้อความหรือตัวอักขระทั่ว ๆ ไป





2. ตัวเลข (Number) หมายถึง ข้อมูลที่นำมาคำนวณได้ ตัวเลขในเวิร์กชีตของโปรแกรม Excel มักจะเป็นตัวเลขที่นำมาใช้ในการคำนวณ เช่น ราคาสินค้า จำนวนเงิน ซึ่งสามารถนำมาคำนวณได้โดยการใช้เครื่องหมายกับตัวเลขนั้นได้ เช่น เครื่องหมาย 






3. ข้อมูลเกี่ยวกับวันที่และเวลา (Date & Time) เป็นข้อมูลที่ประกอบด้วยวันที่ เดือน ปี เวลา ซึ่งอาจมีได้หลายรูปแบบ ได้แก่ 03/02/05,3 เม.ย. 2548 และรูปแบบอื่น ๆ
4. ข้อมูลประเภทสูตร (Formula) ข้อมูลชนิดสูตรจะสามารถคำนวณข้อมูลเบื้องต้นเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา เช่น สูตรทางคณิตศาสตร์ การใส่สูตรทางคณิตศาสตร์สามารถทำได้โดยใส่ตัวเลขและเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ลงไป เช่น =10+12 ซึ่งจะให้ ผลลัพธ์ออกมาเป็น 22 ทันทีที่กดปุ่ม หรือในรูปแบบของสูตรคำนวณ เช่น =A2 + A3
ซึ่งผลรับที่ได้คือการนำอาค่าของตัวเลขที่อยู่ใน A2 รวมกับค่าของ A3





















ใบงาน
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง จากข้อมูลบนกระดาษในนักเรียนตามคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องที่สุด

1. ข้อมูลใดคือข้อมูลประเภทข้อความ
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
2. ข้อมูลใดคือข้อมูลประเภทวันที่
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
3. ข้อมูลใดคือข้อมูลประเภทตัวเลข
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
4. ข้อมูลใดคือข้อมูลประเภทสูตร
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
2 2 2 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ การสนใจในการตอบคำถาม
ความกระตือรือร้น
การแสดงความคิดเห็น
คะแนนรวมพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 เรื่อง การทำงานกับเวิร์กชีต เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การป้อน ลบ และแก้ไขข้อมูล เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การป้อน การลบ และการแก้ไขข้อมูล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถป้อนข้อมูล ลบ และแก้ไขข้อมูลในโปรแกรม Excel ได้

สาระการเรียนรู้
การป้อนข้อมูลลงในเซลล์ การแก้ไขข้อมูลที่อยู่ในเซลล์ และการลบข้อมูลที่อยู่ในเซลล์

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนข้อมูลเดิมจากการสอนครั้งที่แล้ว นั่นคือข้อมูลของนักเรียนทั้ง 5 คน
2. ครูถามนักเรียนเพิ่มอีก 5 คน เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มมากขึ้นจาก 5 คน เป็น 10 คน
3. ครูแจกแบบบันทึกข้อมูลให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนจดบันทึกข้อมูลลงในแบบ
บันทึก
4. เมื่อได้ข้อมูลครบแล้ว ครูให้นักเรียนเข้าห้องปฏิบัติการเพื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel ให้พร้อม
5. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง การป้อน การแก้ไข และการลบข้อมูล
6. ให้นักเรียนพิมพ์ป้อนข้อมูลลงในโปรแกรมให้ตรงกับที่กำหนดในแบบบันทึก
7. ให้นักเรียนปฏิบัติตามคำสั่งในใบความรู้
8. ครูสังเกตการฝึกปฏิบัติตามใบความรู้และประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง การป้อน การลบ และการแก้ไขข้อมูล
2. ใบงาน เรื่อง การป้อน การลบ และการแก้ไขข้อมูล
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง การป้อน การลบ และการแก้ไขข้อมูล
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป










กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบงานแบบบันทึก
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลจากที่ครูสอบถามลงในแบบบันทึกนี้ให้ถูกต้อง

























ใบความรู้
เรื่อง การป้อน การลบ และการแก้ไขข้อมูล

การป้อนข้อมูล
การป้อนข้อมูลเราสามารถป้อนข้อมูลลงไปในเซลล์ได้ถึง 32,000 ตัวอักษรในหนึ่งเซลล์ ซึ่งวิธีป้อนทำได้ดังนี้
1. เลื่อนเมาส์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการแล้วคลิกเมาส์ซึ่งตามแบบใบงานนั้นเริ่มต้นที่
ช่องที่ B แถวที่ 2 แล้วคลิกเมาส์
2. พิมพ์ข้อมูลตามแบบใบงานแล้วกด Enter 1 ครั้งข้อมูลนั้นจะอยู่ในตำแหน่งเซลล์
ที่มีชื่อว่า B2
3. ถ้าต้องการเลื่อนไปยังตำแหน่งต่อไปสามารถเลื่อนโดยการใช้เมาส์เหมือนข้อที่ 1 หรือการใช้ลูกศร  ที่คีย์บอร์ดก็ได้
ให้นักเรียนพิมพ์ข้อมูลให้ครบตามที่กำหนดในใบงาน

การแก้ไขข้อมูล
การแก้ไขข้อมูลที่ป้อนลงในเซลล์ สามารถปฏิบัติได้หลายวิธีดังต่อไปนี้
• พิมพ์ข้อความใหม่ทั้งหมด หมายถึง ให้พิมพ์ข้อมูลใหม่ที่ถูกต้องทับลงไปในเซลล์ที่ต้องการแก้ไขได้ทันที
• ลบข้อมูลในเซลล์ให้เป็นเซลล์ว่างโดยการใช้ปุ่ม
• เรียกข้อมูลที่ถูกลบทิ้งกลับคืนมาโดยการกด Ctrl + Z หรือไปที่คำสั่ง Edit หรือแก้ไข เลือก Undo หรือยกเลิก
• ใช้ปุ่มฟังก์ชั่น F2 ซึ่งเรียกว่าการแก้ไข หรือการดับเบิลคลิกที่เซลล์นั้นแล้วแก้ไขข้อมูล
ให้แก้ไขข้อมูลคนที่ 9 โดยเปลี่ยนชื่อเป็น เด็กชายเริงชัย เหง้ากอก ได้เงินมา 5 บาท




การลบข้อมูลหรือ Clear
การลบข้อมูลที่อยู่ในเซลล์ หรือช่วงของเซลล์ที่ทำการเลือกเอาไว้ ซึ่งจะมีความแตกต่างกับการกดปุ่ม Delete บนแป้นพิมพ์ การลบข้อมูลโดยใช้คำสั่งล้างเราสามารถที่จะลบได้หลายรูปแบบ เช่น ลบเฉพาะรูปแบบของเซลล์ หรือลบข้อคิดเห็น แต่ถ้าเรากดปุ่ม Delete เพื่อลบข้อมูล จะเป็นการลบข้อมูลในเซลล์เท่านั้น แต่ไม่ได้ลบรูปแบบที่อยู่ภายในเซลล์นั้น การล้างสามารถทำได้ดังนี้
1. เลือกช่วงข้อมูลที่ต้องการลบ
2. เลือกคำสั่ง แก้ไข เลือก คำสั่ง ล้าง เลือกคำสั่ง ทั้งหมด ดังรูป















ให้ลบข้อมูลคนที่ 6 – คนที่ 10




แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. การเพิ่มข้อมูล
2. การแก้ไขข้อมูล
3. การลบข้อมูล

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 เรื่อง การทำงานกับเวิร์กชีต เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คำสั่งยกเลิกและทำซ้ำ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การยกเลิกคำสั่งและการทำซ้ำคำสั่ง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถใช้คำสั่งยกเลิกและทำซ้ำคำสั่งที่ยกเลิกได้

สาระการเรียนรู้
การยกเลิกคำสั่ง เพื่อให้งานกลับสู่สภาพเดิมก่อนการใช้คำสั่งล่าสุด และการทำซ้ำคำสั่งที่ยกเลิกไปแล้วล่าสุดเพื่อให้งานเป็นไปตามคำสั่งที่สั่งครั้งสุดท้าย

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนข้อมูลเดิมจากการสอนครั้งที่แล้ว นั่นคือข้อมูลของนักเรียนทั้ง 5 คน
2. เมื่อได้ข้อมูลครบแล้ว ครูให้นักเรียนเข้าห้องปฏิบัติการเพื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel ให้พร้อม
3. ครูสั่งให้นักเรียนล้างข้อมูลทั้งหมด
6. ครูสั่งให้นักเรียนนำข้อมูลที่ล้างกลับคืนเหมือนสภาพเดิม
7. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง การยกเลิกคำสั่งและการทำซ้ำ
8. ครูสังเกตการฝึกปฏิบัติตามใบความรู้และประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง การยกเลิกคำสั่งและการทำซ้ำ
2. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป
















กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้ เรื่อง การยกเลิกคำสั่ง และการทำซ้ำ

คำสั่ง ยกเลิก หรือ Undo เป็นคำสั่งที่ใช้ในการยกเลิกการกระทำใด ๆ บนเวิร์กชีต เช่น การลบข้อความในเซลล์ทิ้งโดยไม่ได้ตั้งใจ และต้องการที่จะเรียกข้อความที่ถูกลบกลับคืนมา โปรแกรม Excel ได้เพิ่มความสามารถของคำสั่ง ยกเลิก ให้มากขึ้นด้วยความสามารถในการจดจำคำสั่งต่าง ๆ ที่ได้สั่งไปแล้วย้อนหลังได้มากถึง 16 คำสั่ง โดยเราสามารถยกเลิกคำสั่งที่กระทำไปแล้วได้มากถึง 16 คำสั่งด้วยกัน การยกเลิกคำสั่งที่ได้กระทำไปแล้ว สามารถปฏิบัติได้ดังต่อไปนี้
วิธีที่ 1 การใช้คำสั่งจากเมนู
คลิกที่เมนู แก้ไข แล้วเลือกคำสั่ง ยกเลิก ล้าง ดังรูปนี้


















การคลิกที่คำสั่งบนแถบเครื่องมือ ดังรูปนี้
แล้วเลือกคำสั่งที่ต้องการ












และอีกวิธีคือ การใช้คำสั่งจากแป้นพิมพ์คือ Ctrl + Z

การทำซ้ำ
การทำซ้ำคือการใช้คำสั่งที่เคยยกเลิกไปแล้วให้สามารถทำคำสั่งนั้นอีกครั้ง










ใบงาน เรื่อง การยกเลิกคำสั่ง และทำซ้ำ
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนทำตามคำสั่งต่อไปนี้


1. ให้ลบข้อมูลคนที่ 1
2. ให้ลบข้อมูลทุกคนแบบล้างให้ว่าง
3. ทำข้อมูลกลับมากเป็นเหมือนเดิมทุกอย่าง




















แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. คำสั่งที่ 1
2. คำสั่งที่ 2
3. คำสั่งที่ 3

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 เรื่อง การทำงานกับเวิร์กชีต เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การเลื่อนเวิร์กชีต เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การเลื่อนเวิร์กชีต

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถเลื่อนไปยังส่วนต่าง ๆ ของเวิร์กชีต ได้

สาระการเรียนรู้
การเลื่อนไปยังส่วนต่าง ๆ ของเวิร์กชีต โดยการใช้เมาส์ และการใช้แป้นพิมพ์

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนเข้าห้องปฏิบัติการเพื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel ให้พร้อม
2. ครูอธิบายส่วนต่าง ๆ ของเวิร์กชีต ซึ่งประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ คือ จำนวนแถว
ในแนวตั้ง ซึ่งเรียกว่า คอลัมน์ ประกอบด้วยทั้งหมด 256 คอลัมน์ จาก A ถึง IV
และจำนวนแถวมีทั้งหมด 65,536 แถว
3. ครูแนะนำให้นักเรียนนักเรียนนำเมาส์ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ แล้วคลิกเมาส์ เป็นการ
เลื่อนตำแหน่งวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 คือ การใช้ปุ่มที่แป้นพิมพ์ และการเลื่อนด้วยแถบ
เลื่อนด้านข้างทั้งด้านบนล่าง และซ้ายขวา
4. ครูให้นักเรียนดูวีดีโอประกอบ
5. ครูสังเกตการปฏิบัติของนักเรียน
6. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง การเลื่อนเวิร์กชีต

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด การเลื่อนเวิร์กชีต
2. วีดีโอ เรื่องการเลื่อนเวิร์กชีต
3. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง การเลื่อนเวิร์กชีต
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป











กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง การเลื่อนเวิร์กชีต
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้

1. การเลื่อนเวิร์กชีต ประกอบด้วย กี่ส่วน อธิบายให้ละเอียด
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
2. การเลื่อนเวิร์กชีตสามารถเลื่อนได้ด้วยวิธีการใดบ้าง
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................










แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
2 2 2 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ การสนใจในการตอบคำถาม
ความกระตือรือร้น
การแสดงความคิดเห็น
คะแนนรวมพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 เรื่อง การทำงานกับเวิร์กชีต เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การย้ายและคัดลอก เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การเลื่อนเวิร์กชีต

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถย้ายข้อมูลในเซลล์ได้
นักเรียนสามารถคัดลอกข้อมูลเพื่อเพิ่มจำนวนชุดข้อมูลได้

สาระการเรียนรู้
การเลื่อนไปยังส่วนต่าง ๆ ของเวิร์กชีต โดยการใช้เมาส์ และการใช้แป้นพิมพ์

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนเข้าห้องปฏิบัติการเพื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel ให้พร้อม
2. ครูให้นักเรียนดูวีดีโอประกอบเรื่องการย้ายข้อมูลและการคัดลอกข้อมูล
3. ให้นักเรียนทำแบบฝึกปฏิบัติเรื่อง การย้ายและการคัดลอกข้อมูล
4. ครูสังเกตและประเมินผลการปฏิบัติของนักเรียน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด การย้ายและการคัดลอกข้อมูล
2. วีดีโอ เรื่องการย้ายและการคัดลอกข้อมูล
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง การย้ายและการคัดลอกข้อมูล
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป















กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง การย้ายและการคัดลอกข้อมูล
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนทำตามคำสั่งต่อไปนี้

1. พิมพ์ข้อมูลต่อไปนี้ลงในเซลล์
เริ่มพิมพ์จากคอลัมน์ B แถวที่ 2
A B C D E F
1 ตารางการเดินรถโดยสาร กรุงเทพฯ-ชัยภูมิ
2 ลำดับที่ เวลาออก เวลาถึง เบอร์รถ ผู้โดยสาร
3 1 05.00 10.00 28 54
4 2 06.00 11.00 25 50
5 3 07.00 12.00 12 60
6 4 21.00 02.00 17 48
7 5 24.00 06.00 20 51
8 6
9 8
10 9
11

2. จากงานดังกล่าว ให้ย้ายข้อมูลการเดินลดจากลำดับที่ 4,5 เฉพาะเวลาออกและเวลาถึง
มาไว้ลำดับที่ 8,9
3. ให้คัดลอกลำดับที่ 3 เฉพาะเวลาออกและเวลาถึง มาไว้ที่ลำดับที่ 5
4. เพิ่มข้อมูลลำดับที่ 4 เวลาออกคือ 06.30 เวลาถึง 11.30 เบอร์รถ 15 ผู้โดยสาร 40
5. บันทึกข้อมูลโดยตั้งชื่อแฟ้มว่า Move&Copy




แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. รูปแบบถูกต้อง
2. การใช้คำสั่งย้าย
3. การใช้คำสั่งคัดลอก

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 เรื่อง การทำงานกับเวิร์กชีต เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การจัดการแถว คอลัมน์ และเซลล์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การจัดการแถว คอลัมน์ และเซลล์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถย่อหรือขยายเซลล์ได้
นักเรียนสามารถแทรกหรือลบเซลล์ได้

สาระการเรียนรู้
การย่อและขยายคอลัมน์ แถว การแทรกคอลัมน์ และการแทรกแถว การลบคอลัมน์และลบแถว

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนเข้าห้องปฏิบัติการเพื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Excel ให้พร้อม
2. ครูให้นักเรียนดูวีดีโอประกอบเรื่องการแทรก การลบ คอลัมน์ และแถว
3. ให้นักเรียนทำแบบฝึกปฏิบัติเรื่อง การแทรก การลบ คอลัมน์ และแถว
4. ครูสังเกตและประเมินผลการปฏิบัติของนักเรียน
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด การแทรก การลบ คอลัมน์ และแถว
2. วีดีโอ เรื่องการแทรก การลบ คอลัมน์ และแถว
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง การแทรก การลบ คอลัมน์ และแถว
- แบบสังเกตพฤติกรรม
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป















กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง การแทรก การลบ คอลัมน์ และแถว
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนทำตามคำสั่งต่อไปนี้

1. พิมพ์ข้อมูลต่อไปนี้ลงในเซลล์
เริ่มพิมพ์จากคอลัมน์ B แถวที่ 2
A B C D E F
1 ตารางการเดินรถโดยสาร กรุงเทพฯ-ชัยภูมิ
2 ลำดับที่ เวลาออก เวลาถึง เบอร์รถ ผู้โดยสาร
3 1 05.00 10.00 28 54
4 2 06.00 11.00 25 50
5 3 07.00 12.00 12 60
6 7 21.00 02.00 17 48
7 8 24.00 06.00 20 51
8
9
10

2. ให้แทรกข้อมูลลำดับที่ 4-6 ระหว่าง 3 กับ โดยป้อนข้อมูลดังนี้
4 08.00 13.00 14 50
5 09.00 14.00 19 45
6 10.00 15.00 24 43
3. ให้ลบข้อมูลผู้โดยสารออกโดยวิธีการลบใช้วิธีการลบทั้งคอลัมน์
4. จัดขนาดของคอลัมน์ให้พอดีกับตัวอักษรที่มากที่สุดของแถว




แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. รูปแบบถูกต้อง
2. การย่อขยายคอลัมน์
3. การแทรกและลบคอลัมน์

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แบบทดสอบ
ชื่อ-สกุล………………………………………………..เลขที่…..ชั้นประถมศึกษาปีที่……….
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกที่สุด
1. ประเภทข้อมูลในโปรแกรม Excel แบ่งออกเป็นกี่ประเภทใหญ่ ๆ
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท
2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่สามารถนำตัวเลขไปคำนวณได้
ก. เงินเดือน 200
ข. ค่าไฟฟ้า 300
ค. โทรศัพท์ 835148
ง. ค่าโทรศัพท์ 150
3. แป้นใดใช้สำหรับแก้ไขข้อมูลในเซลล์
ก. F1
ข. F2
ค. F3
ง. F4
4. จำนวนคอลัมน์ใน Excel มีทั้งหมดกี่คอลัมน์
ก. 255
ข. 256
ค. 65,536
ง. 6,5565
5. ถ้าต้องการลบข้อมูลทั้งหมดควรเลือกคำสั่งใดต่อไปนี้
ก. คลิกเมนูแก้ไข เลือกคำสั่งล้าง เลือกทั้งหมด
ข. คลิกเมนูแก้ไข เลือกคำสั่งล้าง เลือกรูปแบบ
ค. กำหนดพื้นที่ในการลบแล้วกดปุ่ม Delete
ง. ไม่มีคำสั่งใดล้างได้ทั้งหมด
เฉลย 1.ง 2.ค 3.ข 4.ข 5.ก



























แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 3 เรื่อง การจัดรูปแบบข้อมูล เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถกำหนดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีตได้

สาระการเรียนรู้
การกำหนดรูปแบบข้อมูล การจัดตำแหน่ง การกำหนดแบบอักษร การกำหนดกรอบและสี

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของเซลล์โดยการถามตอบกับนักเรียน
2. ครูให้เข้าห้องปฏิบัติการ เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่โปรแกรมให้เรียบร้อย
3. เปิดงานเดิมที่เคยบันทึกไว้ โดยเปิดแฟ้ม Move&Copy
4. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต
5. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง การจัดรูปแบบข้อมูลบนเวิร์กชีต เพื่อให้นักเรียนจัดรูปแบบ
ตามแบบฝึกหัดที่แจกให้
6. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจากการปฏิบัติของนักเรียน
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต
2. แบบฝึกหัด เรื่อง การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้
เรื่อง การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต

การจัดรูปแบบข้อมูลบนเวิร์กชีต คือ การปรับเปลี่ยนการแสดงผลในเวิร์กชีตให้ดูสวยงามและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น โดยการเน้นจุดสำคัญหรือข้อมูลที่สำคัญ ๆ เปลี่ยนแปลงรูปแบบของข้อมูลให้เหมาะสมเช่น ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือ รูปแบบของวันที่ในแบบต่าง ๆ หรือจะทำการเพิ่มเติมเครื่องหมายสกุลเงินต่าง ๆ เช่น ดอลลาร์ ($) บาท (฿) หรือ Comm (,) และยังสามารถเปลี่ยนแบบอักษร สีอักษร และอื่น ๆ ซึ่งการจัดรูปแบบนี้สามารถจัดได้ 2 วิธีคือ
1. การจัดการด้วยแถบเครื่องมือรูปแบบ


การจัดด้วยแถบเครื่องมือเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดในการจัด โดยการใช้ปุ่มต่าง ๆ ที่ต้องการบนแถบเครื่องมือได้ทันที แต่บางครั้งเราต้องการรูปแบบที่แตกต่างจากในแถบเครื่องมือ จึงจำเป็นต้องกำหนดด้วยวิธีการที่ 2

2. การจัดรูปแบบด้วยคำสั่งจากไดอะล็อกบ็อกซ์
การจัดรูปแบบของข้อมูลด้วยวิธีนี้ เหมาะสำหรับการจัดรูปแบบข้อมูลที่มีความสลับซับซ้อนหรือต้องการจัดรูปแบบโดยมีการใส่ลูกเล่นต่าง ๆ หลาย ๆ แบบ เพื่อดึงดูดความสนใจ ซึ่งคำสั่งจะแบ่งออกเป็น 6 แบบ ดังนี้
1. ตัวเลข (Number) ใช้ในการจัดรูปแบบ
ตัวเลขในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การใช้เครื่องหมาย
การกำหนดค่าในรูปแบบต่าง ๆ ความถึงกำหนด
ข้อมูลในเป็นในแบบที่ต้องการ




2. การจัดวาง (Alignment) ใช้ในการจัดลักษณะ
การวางตำแหน่งของข้อมูล เช่น จัดข้อมูลให้อยู่
กึ่งกลาง ชิดซ้าย หรือขวา ตลอดจนการวางแนว
ของตัวข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ดังรูป



3. แบบอักษร (Font) ใช้ในการกำหนดรูปแบบ
ของตัวอักษรและขนาดตัวอักษร ลักษณะของ
ตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนด
รูปแบบพิเศษให้ตัวอักษร เป็นต้น




4. เส้นขอบ (Border) ใช้ในการกำหนดเส้นขอบ
ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ลักษณะของเส้นขอบ
และรูปแบบการตีเส้นกรอบให้กับเซลล์

5. ลวดลาย (Patterns) ใช้ในการกำหนด
ลวดลายและสีพื้นให้กับเซลล์และกลุ่ม
เซลล์



6. การป้องกัน (Protection) ใช้ในการป้องกันและรักษา
ความปลอดภัยของข้อมูลในเวิร์กชีต

แบบฝึกหัด เรื่อง การย้ายและการคัดลอกข้อมูล
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนทำตามคำสั่งต่อไปนี้

1. พิมพ์ข้อมูลต่อไปนี้ลงในเซลล์
เริ่มพิมพ์จากคอลัมน์ B แถวที่ 2
A B C D E F
1 ตารางการเดินรถโดยสาร กรุงเทพฯ-ชัยภูมิ
2 ลำดับที่ เวลาออก เวลาถึง เบอร์รถ ผู้โดยสาร
3 1 05.00 10.00 28 54
4 2 06.00 11.00 25 50
5 3 07.00 12.00 12 60
6 4 21.00 02.00 17 48
7 5 24.00 06.00 20 51

2. จากงานจัดให้อยู่ในรูปแบบดังนี้

A B C D E F
1 ตารางการเดินรถโดยสาร กรุงเทพฯ-ชัยภูมิ
2 ลำดับที่ เวลาออก เวลาถึง เบอร์รถ ผู้โดยสาร
3 1 05:00 10:00 28 54
4 2 06:00 11:00 25 50
5 3 07:00 12:00 12 60
6 4 21:00 02:00 17 48
7 5 24:00 06:00 20 51

แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. รูปแบบถูกต้อง
2. การกำหนดเส้นขอบและสีพื้น
3. การการจัดรูปแบบ

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 3 เรื่อง การจัดรูปแบบข้อมูล เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การกำหนดรูปแบบอักษร เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การกำหนดรูปแบบอักษร

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถกำหนดรูปแบบอักษรได้

สาระการเรียนรู้
การกำหนดรูปแบบข้อมูล การจัดตำแหน่ง การกำหนดแบบอักษร การกำหนดกรอบและสี

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของเซลล์โดยการถามตอบกับนักเรียน
2. ครูให้เข้าห้องปฏิบัติการ เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่โปรแกรมให้เรียบร้อย
3. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง การจัดรูปแบบอักษร เพื่อให้นักเรียนจัดรูปแบบ
ตามแบบฝึกหัดที่แจกให้
4. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจากการปฏิบัติของนักเรียน


สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด เรื่อง การจัดรูปแบบอักษร
2. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง การจัดรูปแบบอักษร
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป















กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง การจัดรูปแบบอักษร
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนใช้คำสั่งต่าง ๆ ในการจัดรูปแบบดังนี้
















1. การปรับขนาดและแบบอักษร
2. การทำตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้
3. การทำตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้






แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. การปรับขนาดและแบบอักษร
2. การทำตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้
3. การจัดชิดขอบต่าง ๆ

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 3 เรื่อง การจัดรูปแบบข้อมูล เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การวางตำแหน่ง เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การวางตำแหน่งข้อความในเซลล์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถวางตำแหน่งข้อมูลในเซลล์ได้เหมาะสม

สาระการเรียนรู้
การวางตำแหน่ง การจัดข้อมูลชิดซ้าย ชิดขวา และการจัดกึ่งกลาง เพื่อให้ข้อมูลอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องการจัดรูปแบบอักษรอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนทบทวนความจำ
2. ครูให้เข้าห้องปฏิบัติการ เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่โปรแกรมให้เรียบร้อย
3. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง การจัดวางตำแหน่ง เพื่อให้นักเรียนจัดรูปแบบ
ตามแบบฝึกหัดที่แจกให้
4. ให้นักเรียนดูวีดีโอประกอบ เรื่อง การวางตำแหน่งเซลล์
5. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจากการปฏิบัติของนักเรียน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด เรื่อง การจัดวางตำแหน่งข้อมูล
2. วีดีโอ เรื่อง การจัดวางตำแหน่งข้อมูล
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง การจัดวางตำแหน่งข้อมูล
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง การจัดวางตำแหน่งข้อมูล
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนใช้คำสั่งต่าง ๆ ในการจัดรูปแบบดังนี้


















1. จัดรูปแบบให้เหมือนกับตัวอย่าง
2. กำหนดเส้นขอบให้เหมือนกับตัวอย่าง
3. กำหนดให้ตัวเลขมีทศนิยม 2 ตำแหน่งและคั่นด้วยเครื่องหมาย , ตัวเลข 3 หลัก




แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. การจัดรูปแบบ
2. การกำหนดเส้นขอบ
3. การกำหนดรูปแบบตัวเลข

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 3 เรื่อง การจัดรูปแบบข้อมูล เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การจัดรูปแบบโดยใช้ AutoFormat เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การจัดรูปแบบโดยใช้ AutoFormat

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถวางตำแหน่งข้อมูลโดยการใช้ AutoFormat ได้

สาระการเรียนรู้
การจัดรูปแบบด้วย AutoFormat ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐานที่มีมาพร้อมกับ Excel ซึ่งสามารถเลือกใช้รูปแบบที่เหมาะสมได้

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องการจัดวางตำแหน่งอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนทบทวนความจำ
2. ครูให้เข้าห้องปฏิบัติการ เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่โปรแกรมให้เรียบร้อย
3. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง การใช้คำสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัติ
3. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง การใช้คำสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัติ เพื่อให้นักเรียนจัดรูปแบบ
ตามแบบฝึกหัดที่แจกให้
5. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจากการปฏิบัติของนักเรียน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด เรื่อง การใช้คำสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัติ
2. ใบความรู้ เรื่อง การใช้คำสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัติ
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง การใช้คำสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัติ
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้ เรื่อง การใช้คำสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัติ

การจัดรูปแบบโดยการใช้คำสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัตินี้ เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่มีความชำนาญในการใช้โปรแกรม Excel ซึ่งโปรแกรมจะมีรูปแบบเป็นแบบสำเร็จ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเลือกใช้งานได้อย่างสะดวก และมีแบบสวยงามเหมือนกับระดับมืออาชีพจัดทำ การเรียกใช้คำสั่งสามารถทำได้ดังนี้คือ

1. คลิกที่เมนู เลือกข้อมูลที่ต้องการจัดรูปแบบ









2. เลือกคำสั่งจากเมนู รูปแบบ แล้วเลือกคำสั่งย่อย รูปแบบอัตโนมัติ จะปรากฎหน้าจอดังภาพนี้









3. เลือกรูปแบบที่ต้องการจากรายการต่าง ๆ ที่มีดังรูป











4. เมื่อเลือกรูปแบบได้แล้วให้คลิกที่ปุ่มตกลง จะได้รูปแบบดังตัวอย่างนี้















แบบฝึกหัด เรื่อง การจัดรูปแบบอัตโนมัติ
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนจัดรูปแบบได้มีลักษณะดังตัวอย่างต่อไปนี้โดยใช้รูปแบบอัตโนมัติ

























แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. ข้อมูลถูกต้อง
2. การจัดตำแหน่งถูกต้อง
3. การเลือกรูปแบบอัตโนมัติถูกต้อง

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 3 เรื่อง การจัดรูปแบบข้อมูล เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์ได้

สาระการเรียนรู้
การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์ และการกำหนดเส้นขอบให้กับกลุ่มเซลล์

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่อง การจัดรูปแบบอัตโนมัติอีกครั้งเพื่อให้นักเรียนทบทวน
ความจำ
2. ครูให้เข้าห้องปฏิบัติการ เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่โปรแกรมให้เรียบร้อย
3. ครูให้นักเรียนศึกษาดูวีดีโอ เรื่อง การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์
4. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์
เพื่อให้นักเรียนจัดรูปแบบ ตามแบบฝึกหัดที่แจกให้
5. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจากการปฏิบัติของนักเรียน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด เรื่อง การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์
2. วีดีโอ เรื่อง การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง การกำหนดเส้นขอบให้กับเซลล์และกลุ่มเซลล์
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนจัดรูปแบบเซลล์ให้มีลักษณะดังตัวอย่างต่อไปนี้

























แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. รูปแบบถูกต้อง
2. การกำหนดเส้นแนวตั้งถูกต้อง
3. การกำหนดเส้นแนวนอนถูกต้อง

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 3 เรื่อง การจัดรูปแบบข้อมูล เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การตกแต่งเวิร์กชีต เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การตกแต่งเวิร์กชีต

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถตกแต่งเวิร์กชีตเพื่อให้งานเหมาะสมได้ดียิ่งขึ้น

สาระการเรียนรู้
การกำหนดสีลวดลายและสีให้กับพื้นหลัง

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่อง การกำหนดเส้นขอบ อีกครั้งเพื่อให้นักเรียนทบทวน
ความจำ
2. ครูให้เข้าห้องปฏิบัติการ เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่โปรแกรมให้เรียบร้อย
3. ครูให้นักเรียนศึกษาดูวีดีโอ เรื่อง การกำหนดลวดลายและสีให้กับพื้นหลัง
4. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง การกำหนดลวดลายและสีให้กับพื้นหลัง
เพื่อให้นักเรียนจัดรูปแบบ ตามแบบฝึกหัดที่แจกให้
5. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจากการปฏิบัติของนักเรียน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด เรื่อง การกำหนดลวดลายและสีให้กับพื้นหลัง
2. วีดีโอ เรื่อง การกำหนดลวดลายและสีให้กับพื้นหลัง
3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจผลสำเร็จของใบงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- แบบฝึกหัด เรื่อง การกำหนดลวดลายและสีให้กับพื้นหลัง
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง การกำหนดลวดลายและสีให้กับพื้นหลัง
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนจัดรูปแบบเซลล์ให้มีลักษณะดังตัวอย่างต่อไปนี้

























แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. การกำหนดเส้นขอบ
2. การกำหนดสีพื้น
3. การกำหนดลวดลาย

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แบบทดสอบ
ชื่อ-สกุล………………………………………………..เลขที่…..ชั้นประถมศึกษาปีที่……….
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกที่สุด
1. การจัดรูปแบบข้อมูลสามารถปฏิบัติได้กี่วิธี
ก. 1 วิธี
ข. 2 วิธี
ค. 3 วิธี
ง. 4 วิธี
2. การจัดรูปแบบวิธีใดสะดวกที่สุด
ก. การใช้คำสั่งจากเมนูมาตรฐาน
ข. การใช้เครื่องมือจากแถบมาตรฐาน
ค. การใช้คำสั่งจากเมนูจัดรูปแบบ
ง. การใช้เครื่องมือจากแถบจัดรูปแบบ
3. การใช้คำสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัติคืออะไร
ก. ผู้ใช้ต้องกำหนดรูปแบบไว้ก่อนแล้วเรียกใช้งานทีหลัง
ข. เลือกใช้คำสั่งจากโปรแกรม Word
ค. เลือกใช้คำสั่งที่มาพร้อมกับโปรแกรม Excel
ง. ไม่มีข้อถูก
4. การกำหนดสีและลวดลายพื้นหลังอยู่ในคำสั่งใด
ก. เมนูรูปแบบ
ข. รูปแบบเซลล์
ค. เลือกรายการ
ง. เส้นขอบ
5. ถ้าต้องการใช้กึ่งกลางระหว่างเซลล์หลาย ๆ เซลล์ใช้คำสั่งใด


ก. ข. ค. ง.

เฉลย 1.ข 2.ง 3.ค 4.ข 5.ก



























แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 4 เรื่อง สูตรและฟังก์ชั่น เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สูตร เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสูตร

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถบอกความหมายของสูตรและการใช้เครื่องหมายได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้
สูตรและสัญลักษณ์ที่ใช้ในโปรแกรม Excel

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนเลยใช้เครื่องคิดเลขหรือไม่
2. โปรแกรม Excel เป็นโปรแกรมที่ทำงานเหมือนกับเครื่องคิดเลข ที่ทำได้ดีกว่า
เช่น เมื่อเราต้องการใช้รูปแบบการคำนวณแบบเดิม เราก็เปลี่ยนแค่ตัวเลข
โปรแกรมจะคำนวณตามที่เราได้ใส่สูตรไว้แล้ว
3. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง สูตร
5. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง สูตร เพื่อให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด
6. ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรม
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง สูตร
2. แบบฝึกหัด เรื่อง สูตร
3. แบบสังเกตพฤติกรรม

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง สูตร
- แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้
เรื่อง การจัดรูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีต

สูตรในโปรแกรม Excel หมายถึง โจทย์หรือการคำนวณต่าง ๆ เช่น 25+15+8 หรือ =B9-C4+D5 เป็นต้น เมื่อเราป้อนสูตรคำนวณในตารางเวิร์กชีตให้ใช้เครื่องหมาย = (เท่ากับ) นำหน้าสูตรเสมอ มิฉะนั้นโปรแกรม Excel จะถือว่าสิ่งที่ป้อนนั้นเป็นข้อมูลธรรมดาที่ไม่ใช่สูตร
เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ใช้ในโปรแกรม Excel มีดังนี้

สัญลักษณ์ ความหมาย
+ บวก
- ลบ
* คูณ
/ หาร
^ ยกกำลัง
% เปอร์เซ็นต์
( ) วงเล็บ











แบบฝึกหัด เรื่อง สูตร
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนทำตามคำสั่งต่อไปนี้

1. สูตรหมายถึงอะไร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
2. เครื่องหมายใดที่ต้องใช้นำหน้าทุกครั้งเมื่อต้องการป้อนสูตร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
3. จงบอกความหมายของเครื่องหมายต่อไปนี้
+ ความหมาย ........................................................................................
- ความหมาย ........................................................................................
/ ความหมาย ........................................................................................
* ความหมาย ........................................................................................
^ ความหมาย ........................................................................................
( ) ความหมาย ........................................................................................
% ความหมาย ........................................................................................








แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. ความสนใจในหาความรู้
2. การตอบคำถามถูกต้อง
3. ความกระตือรือร้น

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 4 เรื่อง สูตรและฟังก์ชั่น เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถใช้สูตรคำนวณเบื้องต้นได้

สาระการเรียนรู้
การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร
และการหาค่าร้อยละ

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูแจกแบบฝึกหัด เรื่อง การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้นให้กับนักเรียน
2. ครูให้นักเรียนคำนวณโดยการตั้งโจทย์ตามแบบทดสอบที่ 1
3. และครูให้นักเรียนคำนวณโดยการใช้เครื่องคิดเลข จากโปรแกรม Calculator
4. ครูให้นักเรียนดูวีดีโอ เรื่อง การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้นจาก CAI
5. ครูตั้งโจทย์ตามแบบทดสอบที่ 2
6. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบทดสอบที่ 1
2. แบบทดสอบที่ 2
3. วีดีโอ เรื่อง การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น
3. แบบประเมินผลเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง การใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป













กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบทดสอบที่ 1
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนคำนวณหาคำตอบโดยการใช้มือในรอบแรกและเครื่องคำนวณใน
รอบที่ 2
ให้คำนวณจากซ้ายไปขวา ตัวอย่างเช่น

12/6 * 4 – 5
12/6 = 2 * 4 = 8 –5 = 3 คำตอบคือ 3

คำนวณโดยการใช้ความคิด
15+20+20-4 = .....................................................
20-15+9*2 = .....................................................
25/5*3-10 = .....................................................
50/2+10-8 = .....................................................
25+20+20+15-57 = .....................................................
เวลาที่ทำเสร็จ .................................................................................

คำนวณโดยการใช้เครื่องคิดเลข
15+20+20-4 = .....................................................
20-15+9*2 = .....................................................
25/5*3-10 = .....................................................
50/2+10-8 = .....................................................
25+20+20+15-57 = .....................................................
เวลาที่ทำเสร็จ .................................................................................




แบบทดสอบที่ 2
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนคำนวณหาโดยใช้โปรแกรม Excel

คำนวณโดยการโปรแกรม Excel
A B C D E F
1 15 20 20 4
2 20 15 9 2
3 25 5 3 10
4 50 2 10 8
5 25 20 20 15 57

ช่อง F1 ให้ใส่สูตรคำนวณคือ =A1+B1+C1-D1
หมายความว่า ให้นำค่าในช่อง A1 คือ 15 + B1 คือ 20 + C1 คือ 20 – D1 คือ 4 เป็นต้น


ให้ครูเปลี่ยนโจทย์ดังนี้

215 120 320 24
220 115 39 22
225 15 33 210
250 12 310 28
225 120 320 215 257





แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. การคำนวณครั้งที่ 1
2. การคำนวณครั้งที่ 2
3. การคำนวณครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 4 เรื่อง สูตรและฟังก์ชั่น เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การใช้ฟังก์ชั่น เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การใช้ฟังก์ชั่น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถใช้งานฟังก์ชั่นเบื้องต้นได้

สาระการเรียนรู้
การใช้ฟังก์ชั่น SUM, MAX, MIN, AVERAGE, STDEV เป็นต้น
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเรื่องการใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น
2. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง ฟังก์ชั่น
3. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง การใช้ฟังก์ชั่น
4. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง





สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด เรื่อง ฟังก์ชั่น
2. ใบความรู้ เรื่อง ฟังก์ชั่น
3. แบบประเมินผลเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง ฟังก์ชั่น
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบความรู้ เรื่อง ฟังก์ชั่น

ฟังก์ชั่น (Function) คือ สูตรสำเร็จรูปที่สามารถนำไปใช้งานให้เกิดผลลัพธ์ได้ทันที โดยฟังก์ชั่นสามารถลดขั้นตอนการคำนวณ หรือการปฏิบัติการที่ยุ่งยากและซับซ้อนของการใช้สูตรในการคำนวณ ตัวอย่างเช่น = A1+B1+C1+D1 เราสามารถใช้ฟังก์ชั่นในการรวมได้คือ =SUM(A1:D1) คำตอบเป็นคำตอบเดียวกันเป็นต้น

ตัวอย่างฟังก์ชั่นที่ใช้งานบ่อย ๆ

ฟังก์ชั่น รูปแบบ หน้าที่
SUM =SUM (A1:D1) การรวมตัวเลขที่อยู่ระหว่าง A1 ถึง D1
MAX =MAX (A1:A10) ค่าหาสูงสุดที่อยู่ระหว่าง A1 ถึง A10
MIN =MIN (A1:A10) ค่าหาต่ำสุดที่อยู่ระหว่าง A1 ถึง A10
AVERAGE =AVERAGE (A1:A10) ค่าหาเฉลี่ยข้อมูลที่อยู่ระหว่าง A1 ถึง A10
STDEV =STDEV (A1:A10) หาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในช่วงพื้นที่ระหว่าง A1 ถึง A10












แบบฝึกหัด เรื่อง ฟังก์ชั่น
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนคำนวณหาโดยใช้โปรแกรม Excel

คำนวณโดยการโปรแกรม Excel
A B C D E F
1 15 20 20 4 หาค่าเฉลี่ย
2 20 15 9 2 หาผลรวม
3 25 5 3 10 หาผลรวม
4 50 2 10 8 หาผลรวม
5 25 20 20 15 57 หาค่าต่ำสุด
6 หาค่าสูงสุด
















แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. การหาผลรวม
2. การหาค่าเฉลี่ย
3. การหาค่าสูงสุด

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 4 เรื่อง สูตรและฟังก์ชั่น เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้งาน AutoSum เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การใช้งาน AutoSum

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถใช้AutoSum เบื้องต้นได้

สาระการเรียนรู้
การใช้งาน AutoSum เป็นการคำนวณจะเฉพาะการหาผลรวมเท่านั้น

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนเรื่องการใช้สูตรคำนวณเบื้องต้น
2. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง AutoSum
3. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง





สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด เรื่อง AutoSum
2. แบบประเมินผลเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง AutoSum
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป















กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง AutoSum
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนคำนวณหาโดยใช้โปรแกรม Excel

คำนวณโดยการโปรแกรม Excel
A B C D E
1 15 20 20 4 หาผลรวม
2 20 15 9 2 หาผลรวม
3 25 5 3 10 หาผลรวม
4 50 2 10 8 หาผลรวม
5 25 20 20 15 หาผลรวม
6 หาผลรวม หาผลรวม หาผลรวม หาผลรวม หาผลรวม
















แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. ความถูกต้องของข้อมูล
2. รูปแบบเหมาะสม
3. เสร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 4 เรื่อง สูตรและฟังก์ชั่น เวลาเรียน 7 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถสั่งพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์ได้

สาระการเรียนรู้
การสั่งพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนดูวีดีโอเรื่อง การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์
2. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่อง
3. ครูสังเกตและประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง





สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัด เรื่อง การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่อง
2. วีดีโอ เรื่อง การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่อง
2. แบบประเมินผลเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฟัง และการตอบคำถาม
- ตรวจแบบฝึกหัด
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่อง
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ดาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป














กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
แบบฝึกหัด เรื่อง การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์
ชื่อ-สกุล.....................................................................................เลขที่..............ชั้น..................
คำชี้แจ้ง ให้นักเรียนคำนวณหาโดยใช้โปรแกรม Excel

1. คำนวณโดยการโปรแกรม Excel

A B C D E
1 15 20 20 4 หาผลรวม
2 20 15 9 2 หาผลรวม
3 25 5 3 10 หาผลรวม
4 50 2 10 8 หาผลรวม
5 25 20 20 15 หาผลรวม
6 หาผลรวม หาผลรวม หาผลรวม หาผลรวม หาผลรวม


2. ให้นักเรียนพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์เพื่อส่งครู












แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 3 พอใช้ ให้ 2 ควรปรับปรุง ให้ 1
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินทุกรายการต้องได้ 1 ขึ้นไป
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
1 2 3 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน










เกณฑ์ 1. ความถูกต้องของข้อมูล
2. รูปแบบเหมาะสม
3. งานที่พิมพ์มีความสมบูรณ์

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….
แบบทดสอบ
ชื่อ-สกุล………………………………………………..เลขที่…..ชั้นประถมศึกษาปีที่……….
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกที่สุด
1. เครื่องหมายให้ไม่สามารถใช้ในสูตรได้
ก. +
ข. -
ค. 
ง. /
2. เครื่องหมายใดไม่สามารถใช้ในสูตรได้
ก. +
ข. -
ค. *
ง. 
3. คำสั่งใดคือคำสั่งหาค่าสูงสุด
ก. SUM
ข. MAX
ค. MIN
ง. STDEV
4. คำสั่งใดคือคำสั่งหาค่าต่ำสุด
ก. SUM
ข. MAX
ค. MIN
ง. STDEV
5. คำสั่ง AutoSum มีค่าเหมือนกับคำสั่งใด
ก. SUM
ข. MAX
ค. MIN
ง. STDEV
เฉลย 1.ค 2.ง 3.ข 4.ค 5.ก



























แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
หน่วยที่ 5 เรื่อง การประยุกต์เพื่อใช้ในงานอาชีพ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การประยุกต์เพื่อใช้งาน เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่…………เดือน……………………..พ.ศ. …………… ภาคเรียนที่ ….
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทำงานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม

สาระสำคัญ
การประยุกต์โปรแกรม Excel เพื่อใช้ในงานอาชีพ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถใช้โปรแกรม Excel เพื่อประยุกต์ใช้ในงานอาชีพได้

สาระการเรียนรู้
แบบคำนวณรายรับรายได้ประจำวันของนักเรียน

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูแจกแบบฟอร์มเพื่อให้นักเรียนสร้างแบบฟอร์มและบันทึกรายรับรายจ่าย
ของตนเอง
2. ให้นักเรียนคำนวณเพื่อหายอดสรุปรายรับและรายจ่าย
3. ครูประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังจากใบงาน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. ใบงาน เรื่อง การประยุกต์เพื่อใช้งาน
2. แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

การวัดผลประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตการฝึกปฏิบัติตามแบบฝึก
- ตรวจผมสำเร็จของงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ใบงาน เรื่อง การประยุกต์เพื่อใช้งาน
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
- ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป


















กิจกรรมเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………

ลงชื่อ …………………………….
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา………….
………../……………../……….

บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ……………………………….…ผู้สอน
(……………….. ……….)
ตำแหน่ง………………………………………………
………../…………./………….
ใบงาน
เรื่อง การประยุกต์เพื่อใช้งาน

คำสั่ง แบบฟอร์มการบันทึกรายรับรายจ่ายประจำวันของนักเรียน

ลำดับที่ วันที่ รายรับ จำนวนเงิน รายจ่าย จำนวนเงิน หมายเหตุ











รวมจำนวนเงิน


ลงชื่อ...................................ผู้บันทึก
รวมรายการรับ
รวมรายการจ่าย
คงเหลือ









ประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน สรุป
5 5 รวม ผ่าน ไม่ผ่าน














เกณฑ์ ช่องที่ 1 การใช้คำสั่งครบ
ช่องที่ 2 ความสมบูรณ์ของเอกสาร
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

( ลงชื่อ ) ………………………………………….… ผู้ประเมิน ( ครูผู้สอน )
( ………………………………………… )
………. / …………… / ……….